Page 80 - :: สมุดภาพ ๑๓๐ ปี กระทรวงมหาดไทย ๒๔๓๕ - ๒๕๖๕ เล่ม ๒ ::
P. 80

3




                ภารกิจและหน้าท่ของกระทรวงมหาดไทย                                              ๓
                                            ี





                                                                        ี
                                              ี
                “ตั้งแต่เข้าเขตรมณฑลอุดรมา ได้ไปเท่ยวตามหมู่บ้านราษฎรตามทางท่ผ่านมาหลายแห่ง บางแห่ง
                             ั
                เปนบ้านใหญ่ ต้งมาช้านานหลายช่วคน ลองไต่ถามถึงประเพณีการสมาคมของชาวบ้านเหล่าน  ี   ้
                                            ั
                ตามที่พวกชาวบ้านชี้แจง ได้ความปลาดน่าพิศวงอย่าง ๑ คือชาวบ้านเหล่านี้ ครัวหนึ่งก็มีบ้าน
                อยู่แห่ง ๑ มีเย่าเรือนพอกันอยู่แลมียุ้งเข้าเก็บไว้พอกินปี ๑ ในลานบ้านปลูกพริก มะเขือ ข่า ตะไคร้
                 �
                                                                                  ี
                สาหรับต้มแกง นอกบ้านมีสวนผลไม้ เช่น กล้วย อ้อย หมาก มะพร้าว และมีท่ปลูกต้นหม่อน
                                                                                    �
                                                                ื
                        ี
                 �
                สาหรับเล้ยงไหม ต่อเขตรสวนออกไปถึงทุ่งนา ต่างมีเน้อนาและโคกระบือพอทาได้เข้ากิน
                                                                                         ี
                                                                        ิ
                                              �
                                                   ั
                                 �
                ทุกครัวเรือน ถึงฤดูทานาก็ช่วยกันทานาท้งชายหญิง เด็ก ผู้ใหญ่ ส้นฤดูนา ผู้ชายไปเท่ยวหา
                                     ี
                                                                           ี
                ของขายผู้หญิงอยู่บ้านเล้ยงไหมแลทอผ้าทาเคร่องนุ่งห่ม เศษอาหารท่เหลือบริโภคใช้เล้ยงไก่
                                                        ื
                                                   �
                                                                                         ี
                                                                                        ี
                                                                             ิ
                แลสุกรไว้ขาย การกินอยู่ของชาวบ้านแถวน ทาได้เองเกือบไม่ต้องซื้อหาส่งอันใด ส่งท่ต้องซ้อ
                                                                                     ิ
                                                    ี
                                                       �
                                                    ้
                                                                                             ื
                ก็คือเครื่องเหล็ก เช่น จอบ เสียม มีดพร้า เปนต้น แลเครื่องถ้วยชาม บางทีก็ซื้อด้ายทอผ้าหรือ
                             ื
                                   ี
                                            ึ
                                                                    ี
                ผ้าผืน แลของอ่น ๆ ท่ชอบใจ ซ่งพ่อค้าหาไปขาย เงินทองท่จะใช้ซื้อหาก็มีพอเพียง เพราะ
                มีโคกระบือท่ออกลูกเหลือใช้ แลมีหมูแลไก่ท่เล้ยงเศษอาหารเหลือบริโภคขายได้เงิน ซ้อของท  ี ่
                                                     ี
                                                                                        ื
                          ี
                                                       ี
                ต้องการได้พอปรารถนา ต่างครัวต่างอยู่เปนอิศระแก่กัน ไม่มีใครเปนบ่าว ไม่มีใครเปนนายใคร
                ลูกบ้านอยู่ในปกครองของผู้ท่เปนหัวน่าครัวของตน แล้วก็มีผู้ใหญ่บ้านแลกานันต่อข้นไป
                                                                                          ึ
                                                                                  �
                                         ี
                ดูปกครองกันง่ายดาย
                แต่ว่าทั้งต�าบลนั้น จะหาเศรษฐีที่มั่งมีเงินแต่ ๒๐๐ บาทขึ้นไปไม่มีเลย คนยากจนถึงต้องเปนบ่าว
                                             ู
                                              ั
                คนอืนกไม่มเลยสกคนเดยว คงอย่กนมาเช่นน้นบด้วยร้อยปีแล้ว เพราะเหตุว่าพวกชาวบ้าน
                          ี
                    ่
                      ็
                                                       ี
                                    ี
                              ั
                                                        ั
                ทาไร่นาหาเล้ยงตัวได้ โดยไม่จ�าเปนต้องใช้เงิน ความรู้สึกต้องการตัวเงินไม่รุนแรง เงินก็ไม่มีอ�านาจ
                 �
                          ี
                                                                                       ้
                                                                          ็
                                                                                       ี
                             ่
                             ี
                          ื
                เหมอนในเมองทว่าเปนศรวไลย จึงไม่ใคร่มใครสะสม แต่จะว่ายากจนกไม่ได้ เพราะเลยงตัวได้
                   ื
                                    ิ
                                     ิ
                                      ิ
                                                   ี
                โดยผาศุกไม่อัตคัด เม่อได้ความดังกล่าวมา ได้อธิบายให้หมอแบรดด๊อกเข้าใจ แล้วถามว่า ประชุม
                                 ื
                       ้
                ชนเช่นน ฝรงจะเห็นว่ามีความศุขหรือมีความทุกข์ประการใด หมอแบรดด๊อกเปนซาวอเมริกันตอบ
                         ่
                         ั
                       ี
                ว่า พวกโซเชียลลิศต์ในเมืองฝรั่งที่วุ่นวายกันต่าง ๆ ก็ต้องการจะเปนอย่างพวกชาวบ้านนี้นั่นเอง
                ท่แท้สมาคมอย่างท่พวกโซเชียลลิศต์ต้องการมีอยู่ในเมืองนี้มานับด้วยร้อยปีพันปีแล้ว
                 ี
                                ี
                สมกับสุภาสิตที่กล่าวว่า “ไม่มีอะไรแปลกใหม่ในโลกนี้”
                ลำยพระหัตถ์สมเด็จฯ กรมพระยำด�ำรงรำชำนุภำพในครำวเสด็จตรวจรำชกำรมณฑลอุดรและมณฑล
                อิสำณ ร.ศ. ๑๒๕ (พ.ศ. ๒๔๔๙)
                ที่มา : เอกสำรเสด็จตรวจรำชกำรเสนำบดีกระทรวงมหำดไทย ร.ศ. ๑๑๙ ถึง ๑๓๑ (พ.ศ. ๒๔๔๓ - ๒๔๕๕)
                กรมศิลปำกรจัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ หน้ำ ๑๓๐
                                                                                           สิงห์ศิลปะสุโขทัย
                                                              (ภาพจากส�านักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร)
           78 I 78
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85